Category: leader

baan-ua-athon

ชุบชีวิต “บ้านเอื้ออาทร” ไอเดียต่อยอดถึง “บ้านประชารัฐ”

โครงการ “บ้านเอื้ออาทร” เริ่มต้นขึ้นจากแนวคิดของ ดร.ทักษิณ ชินวัตร ในปี 2546 สมัยที่พรรคไทยรักไทยเป็นรัฐบาล มีเป้าหมายเพื่อแก้ปัญหาผู้มีรายได้น้อย…

ลดอำนาจรัฐ เพิ่มอำนาจประชาชน ยุทธศาสตร์ใหม่ในการแก้จนเพื่อคนทั้งชาติ

ความยากจนคือปัญหาหลักที่พันธนาการคนส่วนใหญ่ในประเทศไว้กับความทุกข์หลายชั่วคน และถึงแม้อดีต นายกแทบทุกคนล้วนแสดงออกว่าเห็นใจคนจน …

30 บาทรักษาทุกโรค บรรเทาทุกความเหลื่อมล้ำ

ด้วยเงินไม่มากไม่น้อยที่ 30 บาท ภายใต้ ‘หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า’ ทำให้คนจนเข้าถึงการรักษามาตรฐานได้ถ้วนหน้าเป็นครั้งแรก ตั้งแต่ เจ็บป่วยธรรมดา จนถึงโรคร้ายแรง …

SMEs สตาร์ทสิ่งเล็ก..ให้เติบโตบนเวทีใหญ่

หัวใจหนึ่งของการแก้ปัญหาเศรษฐกิจขณะนี้ คือต้องรีบฟื้นธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก และทำให้เขามีรากฐานที่มั่นคงแข็งแรง รัฐต้องให้ความสนใจ อย่ามัวแต่ใช้เวลาแก้

แรงบันดาลใจที่ดร.ทักษิณมอบให้ประเทศไทยสําหรับการก้าวเข้าสู่สังคมโลก

ทุกคนรู้ว่าว่า ดร.ทักษิณ คือหนึ่งในนายกรัฐมนตรีที่มีประชาชนสนับสนุนมากที่สุดในประเทศไทย แต่ไม่ค่อยมีใครรู้ว่านอกจาก ดร.ทักษิณ จะอยู่แถวหน้าด้านการสร้างความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและการเมือง

จากห้องสมุดที่มีชีวิต สู่ TK Park แหล่งเรียนรู้ที่ทักษิณมอบให้คนไทย

ดร.ทักษิณ มีอุปนิสัยชอบอ่านหนังสือเป็นชีวิตจิตใจ บ้านของ ดร.ทักษิณ เต็มไปด้วยหนังสือทุกประเภทที่จะหยิบขึ้นมาอ่านตอนไหนก็ได้ ต่อให้จะมีเวลาว่างแค่ไม่กี่นาทีเท่านั้น ตัวตนของ ดร.ทักษิณ จึงเป็นคนที่ใฝ่ใจแสวงหาความรู้อยู่เสมอ ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนหรือทำอะไรก็ตามที

“จักรยานยืมเรียน”, ความหลังจากแม่ และ “น้ำตา” ของดร.ทักษิณ

ดร.ทักษิณ ชินวัตร เชื่อมั่นว่าวิธีพัฒนามนุษย์ที่ดีที่สุดคือให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาตามศักยภาพ รัฐบาลที่มี ดร.ทักษิณ เป็นผู้นำจึงพัฒนาโครงการเพื่อการศึกษาของเยาวชนอย่างกว้างขวาง ตัวอย่างเช่นโครงการ 1 อำเภอ 1 ทุน เพื่อเปิดโอกาสศึกษาต่อต่างประเทศให้เด็กเรียนดี แต่ขาดทุนทรัพย์จากทุกอำเภอ

ปาฐกถายูเนสโก : บูรณาการการศึกษากับการแก้ปัญหาความยากจน

เมื่อพูดถึงรัฐบาลพรรคไทยรักไทย สิ่งที่ทุกคนนึกถึงทันทีคือนโยบายแก้ปัญหาความยากจนให้หมดไปจากประเทศ ห้าปีที่ประชาชนมอบความไว้วางใจให้ ดร.ทักษิณ เป็นนายกคือห้าปีที่ประเทศไทยมีรัฐบาลซึ่งทำงานภายใต้ยุทธศาสตร์ส่งเสริมรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนตลอดเวลา

ประชุม ครม.ร่วมกับเพื่อนบ้าน : นวัตกรรมที่นำไทยเป็นผู้นำภูมิภาค

รัฐบาลไทยทุกรัฐบาลมีนโยบายสร้างความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านที่ดี แต่นโยบายไม่ได้เท่ากับผลที่เกิดขึ้นในทางปฏิบัติ ในอดีตเราจึงเห็นการบุกเผาสถานทูต คนสนิทของผู้นำประเทศถูกจับเพราะลักลอบเข้าไปในอีกประเทศ ฯลฯ สุดแท้แต่สถานการณ์ด้านวิเทศสัมพันธ์ที่เป็นจริง

คิดใหม่ ทำใหม่ กับการสื่อสารนโยบายพรรคการเมืองครั้งแรกในไทย

พรรคการเมืองคือการรวมกลุ่มทางการเมืองเพื่อมีส่วนร่วมในอำนาจรัฐผ่านการเลือกตั้งของประชาชน พรรคการเมืองที่ประสบความสำเร็จได้แก่พรรคการเมืองที่มีผู้สนับสนุนกว้างขวางจนเปลี่ยนเป็นคะแนนเสียงได้ในที่สุด การสื่อสารทางการเมืองจึงเป็นหัวใจสำคัญของพรรคการเมือง

2547 : เสริมแกร่ง ICT ทักษิณโมเดลก่อนถึงยุคเศรษฐกิจ 4.0

ผู้กำหนดนโยบายในช่วงไม่กี่ปีมานี้ชอบพูดเรื่องเศรษฐกิจ 4.0 หรือการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลอย่างรวดเร็ว แต่คำพูดของผู้มีอำนาจไม่ได้แปลว่าจะนำไปสู่นโยบายที่ทำให้ประเทศเปลี่ยนไป และถ้าถือว่าประเทศไทยตื่นกระแส 4.0 ตั้งแต่ปี 2557 ประเทศนี้ในปี 2563 ก็แทบไม่มีความคืบหน้าด้านนี้เลย

SME กับ Judo Strategy

Judo Strategy มุ่งเน้นไปที่การใช้กำลังที่น้อยกว่าแต่ศึกษามากกว่าจนทำให้โจมตีได้ถูกจุดและเคลื่อนไหวเร็วจนได้ทำให้ได้ผลมากกว่า ซึ่งในสมัยแรกของรัฐบาลดร.ทักษิณถือว่ากลยุทธ์นี้เหมาะอย่างยิ่งสำหรับคนตัวเล็กอย่างธุรกิจ SME ที่จะกลายมาเป็นกำลังสำคัญของประเทศไทย

1 อำเภอ 1 ทุน โอกาสสร้างฝันให้เป็นจริง

ข้อมูลของโครงการ 1 อำเภอ 1 ทุน ชี้ให้เห็นว่าตลอดระยะเวลาตั้งแต่เริ่มโครงการในปี พ.ศ.2547 มีจำนวนนักเรียนที่ได้รับทุนไปศึกษาต่อในต่างประเทศ และสำเร็จการศึกษารวมทั้งสิ้นมากกว่า  3,000 คน

Dual Track Policy สร้างเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็ง

ในฐานะผู้นำรัฐบาล วิสัยทัศน์ของดร.ทักษิณทำให้นโยบายเศรษฐกิจที่เรียกว่า“เศรษฐกิจสองแนวทาง” หรือ Dual Track Policy ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อฟื้นฟูประเทศพร้อมกับสร้างความเติบโตในระยะยาว 

ACD ถึง Asian Bond : การทูตเชิงรุก-การทูตเพื่อเศรษฐกิจ

“เราต้องการนโยบายการต่างประเทศที่รวมเอาความแตกต่าง ควบคู่กับการเปลี่ยนความหลากหลายให้เป็นความร่วมมือที่เสาะแสวงหาสันติภาพ ความมั่นคง และความมั่งคั่งเพื่อประเทศชาติ ภูมิภาค และโลกโดยรวม สิ่งนี้คือสิ่งที่เรียกว่า นโยบายการทูตเชิงรุก”